กติกาข้อที่ 1 " สังเวียน "
ในการแข่งขันทั่ว ๆ ไป สังเวียนต้องเป็นไปตามข้อกำหนดต่อไปนี้
1.ขนาด สังเวียนต้องเย็บมุมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดเลิก ด้านละ 20 ฟุต (6.10 เมตร) และขนาดใหญ่ ด้านละ 24 ฟุต (7.30 เมตร) ซึ่งวัดภายในของเชือก
1.ขนาด สังเวียนต้องเย็บมุมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดเลิก ด้านละ 20 ฟุต (6.10 เมตร) และขนาดใหญ่ ด้านละ 24 ฟุต (7.30 เมตร) ซึ่งวัดภายในของเชือก
2.พื้นและมุม พื้นสังเวียนต้องสร้างให้ปลอดภัย และได้ระดับปราศจากสิ่งกีดขวางใด ๆ และต้องยื่นออกไปนอกเชือก อย่างน้อย 90 ซม. (36 นิ้ว) พื้นสังเวียนต้องอยู่สูงจากพื้นอาคารไม่ต่ำกว่า 4 ฟุต และสูงไม่เกิน 5 ฟุต ตั้งเสาขนาด 4-5 นิ้ว สูงขึ้นไปจากพื้นเวที 58 นิ้วมุมทั้งสี่ต้องหุ้มนวมให้เรียบร้อยหรือจะทำอย่างใดที่สามารถป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่นักมวย
3.การปูพื้นสังเวียน พื้นสังเวียนต้องปูด้วย ยาง ผ้าอย่างอ่อน เสื่อฟางอัด ไม้ก๊อกอัดหรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม หนาไม่น้อยกว่า 1 นิ้ว และไม่หนากว่า 1? นิ้ว และปูทับด้วยผ้าใบให้ตึงและมิดชิดคลุมพื้นสังเวียนทั้งหมด เชือก ต้องมีเชือก 4 เส้น มีความหนาอย่างน้อย 3 ซม. (1.18 นิ้ว) อย่างมาก 5 ซม. (1.97 นิ้ว) ขึงตึงกับเสามุมทั้งสี่ของสังเวียน สูงจากฟื้นสังเวียนขึ้นไปถึง ด้านบนของเชือก 45 ซม. (18 นิ้ว) 75 ซม. (30 นิ้ว) 105 ซม. (42 นิ้ว) และ 135 ซม. (54 นิ้ว) ตามลำดับเชือกต้องหุ้มด้วยวัสดุที่อ่อนนุ่มและเรียบ 4.เชือกแต่ละด้านของสังเวียนต้องผูกยึดกันด้วยผ้าเหนียว 2 ชิ้น ซึ่งมีขนาดกว้าง 3 – 4 ซม. (1.2 – 1.6 นิ้ว) ให้มีระยะห่างเท่า ๆ กัน และผ้าที่ผูกนั้นต้อง ไม่เลื่อนไปตามเชือก
5.บันได สังเวียนต้องมีบันได 3 บันได มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 3 ? ฟุต สองบันไดต้องอยู่ที่มุมตรงข้ามสำหรับผู้เข้าแข่งขันและพี่เลี้ยง ส่วนอีกบันไดหนึ่ง ให้อยู่ที่มุม กว้าง สำหรับผู้ชี้ขาดและแพทย์ 6.กล่องพลาสติก ที่มุมกลางทั้งสองมุมนอกสังเวียน ให้ติดกล่องพลาสติกมุมละ 1 กล่อง เพื่อให้ผู้ชี้ขาดทิ้งสำลี หรือกระดาษที่ใช้ซับเลือก กติกาข้อที่ 2 อุปกรณ์สังเวียน อุปกรณ์ประจำสังเวียนจะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
1.ที่นั่งพักนักมวย สำหรับนักมวยนั่งพักระหว่างยก 2 ที่
1.ที่นั่งพักนักมวย สำหรับนักมวยนั่งพักระหว่างยก 2 ที่
2.ขวดน้ำขนาดเล็ก 2 ขวด สำหรับดื่ม และขวดน้ำชนิดพ่นฝอย 2 ขวด ไม่อนุญาตให้นักมวยหรือที่เลี้ยงใช้ขวดน้ำชนิดอื่น ๆ ในสังเวียน 3.ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน 4.น้ำ 2 ถัง 5.โต๊ะและเก้าอี้สำหรับเจ้าหน้าที่ระฆัง 6.นาฬิกาจับเวลาชนิดกดหยุดได้ 1 หรือ 2 เรือน 7.ใบบันทึกคะแนน 8. หีบใส่กุญแจสำหรับเก็บใบบันทึกคะแนน 9.ป้ายบอก ยก – เวลา – คู่ 1 ชุด 10.นวม 2 คู่ 11.กางเกงมวยสีแดง และสีน้ำเงิน อย่างละ 1 ตัว 12.กระจับพร้อมเชือก 1 – 2 อัน 13.ฉากบังตา 2 อัน (ใช้ในกรณีที่นักมวยกระจับหลุด) 14.เปลหามคนเจ็บ 1 ชุด 15.กรรไกรปลายมน 1 อันกติกาข้อที่ 3 " นวม " นวมที่ใช้ในการแข่งขันแต่ละครั้ง ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1. นวมที่ใช้ในการแข่งขัน ผู้แข่งขันต้องใช้นวมที่ได้รับการรับรองจากสภามวยไทยโลก ซึ่งคณะกรรมการจัดการแข่งขันจัดไว้ให้เท่านั้น ไม่อนุญาตให้ผู้แข่งขัน ใช้นวมของตัวเอง 2.รายละเอียดของนวม นักมวยตั้งแต่รุ่นเล็กถึงรุ่นน้ำหนัก 122 ปอนด์ ใช้นวมขนาด 8 ออนซ์ ( กรัม) นักมวยรุ่นสูงกว่า 122 ปอนด์ ถึงรุ่นน้ำหนัก 147 ปอนด์ ใช้นวมขนาด 10 ออนซ์ (284 กรัม) ส่วนที่เป็นหนังต้องหนักไม่เกินครึ่งหนึ่งของน้ำหนักนวมทั้งขนาดและไส้นวมต้องมีน้ำหนักไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของน้ำหนัก นวมทั้งหมด ไส้นวมต้องไม่เปลี่ยนรูปหรือถูกบดขยี้ให้กระจายไปจากรูปเดิม ต้องผูกเชือกนวมให้ปมเชือกอยู่ด้านนอกหลังข้อมือของนวม ให้ใช้นามที่สะอาด และให้การได้เท่านั้น 3.การตรวจผ้าพันมือและการสวมนวม ทั้งนวมและผ้าพันมือจะต้องเหมาะสม อยู่ภายใต้การตรวจตราของเจ้าหน้าที่ตรวจนวม เจ้าหน้าที่จะต้องคอยดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า นักมวยปฏิบัติถูกต้องตามกติกาทุกอย่าง จนกระทั่งนักมวยขึ้นสู่เวที
1. นวมที่ใช้ในการแข่งขัน ผู้แข่งขันต้องใช้นวมที่ได้รับการรับรองจากสภามวยไทยโลก ซึ่งคณะกรรมการจัดการแข่งขันจัดไว้ให้เท่านั้น ไม่อนุญาตให้ผู้แข่งขัน ใช้นวมของตัวเอง 2.รายละเอียดของนวม นักมวยตั้งแต่รุ่นเล็กถึงรุ่นน้ำหนัก 122 ปอนด์ ใช้นวมขนาด 8 ออนซ์ ( กรัม) นักมวยรุ่นสูงกว่า 122 ปอนด์ ถึงรุ่นน้ำหนัก 147 ปอนด์ ใช้นวมขนาด 10 ออนซ์ (284 กรัม) ส่วนที่เป็นหนังต้องหนักไม่เกินครึ่งหนึ่งของน้ำหนักนวมทั้งขนาดและไส้นวมต้องมีน้ำหนักไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของน้ำหนัก นวมทั้งหมด ไส้นวมต้องไม่เปลี่ยนรูปหรือถูกบดขยี้ให้กระจายไปจากรูปเดิม ต้องผูกเชือกนวมให้ปมเชือกอยู่ด้านนอกหลังข้อมือของนวม ให้ใช้นามที่สะอาด และให้การได้เท่านั้น 3.การตรวจผ้าพันมือและการสวมนวม ทั้งนวมและผ้าพันมือจะต้องเหมาะสม อยู่ภายใต้การตรวจตราของเจ้าหน้าที่ตรวจนวม เจ้าหน้าที่จะต้องคอยดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า นักมวยปฏิบัติถูกต้องตามกติกาทุกอย่าง จนกระทั่งนักมวยขึ้นสู่เวที
กติกาข้อที่ 4 " ผ้าพันมือ "
ให้ใช้ผ้าพันมืออย่างอ่อนยาวข้างละไม่เกิน 6 เมตร กว้างไม่เกิน 5 ซม. ผ้าพันมือชนิดอื่นใช้ไม่ได้ แถบกาวยางหรือพลาสเตอร์ทุกชนิด เป็นผ้าพันมือไม่ได้เด็ดขาด อาจใช้ พลาสเตอร์ยางไม่เกิน 2.5 เมตร กว่าง 2.5 ซม. ข้างละ 1 เส้น ปิดทับข้อมือหรือหลังมือห้ามพันทับสันหมัด
กติกาข้อที่ 5 " เครื่องแต่งกาย "
ก. การแต่งกายของผู้เข้าแข่งขัน1.ต้องสวมกางเกงขาสั้นเพียงครึ่งโคนขาให้เรียบร้อยไม่สวมเสื้อและรองเท้านักมวยมุมแดงให้กางเกงสีแดง ชมพู สีเลือดหมู หรือสีขาวที่มีแถบแดงคาด นักมวยมุมน้ำเงินใช้กางเกงสีน้ำเงิน และสีดำ ห้ามคาดแถบสีแดง และต้องสวมเสื้อคลุมตามข้อบังคับสภาพมวยไทยโลก 2 .ต้องสวมกระจับที่ทำขึ้นจากวัสดุแข็งแรงทนทาน และได้รับการรับรองจากสภามวยไทยโลกเมื่อถูกตีด้วยเข่าหรืออาวุธในการต่อสู้อย่างอื่นตรงบริเวณ อวัยวะเพศจะไม่ทำให้เกิดอันตราย การผูกกระจับต้องผูกปมไว้ด้านหลัง และต้องผูกด้วยเงื่อนตาย เก็บปลายเชือกส่วนที่เหลือให้เรียบร้อย 3.ห้ามไว้ผมยาวรุงรัง และห้ามไว้เครา อนุญาตให้ไว้หนวดได้แต่ต้องยาวไม่เกินริมฝีหาก เล็บเท้า ต้องตัดให้เรียบและสั้น 4. ต้องสวมมงคลผ้าประเจียด หรือรัดเกล้า เฉพาะเวลาร่ายรำไหว้ครู ก่อนทำการแข่งขันเท่านั้น เครื่องรางอนุญาตให้ผูกที่โคนแขน หรือเอว แต่ต้องหุ้มผ้าให้มิดชิดเรียบร้อย เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่คู่แข่งขัน 5.อนุญาตให้ใช้ปลอกยืดรัดข้อเท้ากันเคล็ด สวมข้อเท้าได้ข้างละไม่เกิน 1 อัน แต่ห้ามมิให้เลื่อนปลอกรัดขึ้นไปเป็นสนับแข้งหรือม้วนพับลงมา และห้ามใช้ผ้ารัดขาและข้อเท้า 6.ห้ามใช้เข็มขัดหรือสิ่งที่เป็นโลหะ สร้อย ฯลฯ 7.ห้ามใช้น้ำมันวาสลิน น้ำมันร้อน ไขหรือสมุนไพร หรือสิ่งอื่นที่ทำให้คู่แข่งขันเสียเปรียบหรือเป็นที่น่ารังเกียจทาร่างกายหรือนวม 8.ฟันยาง ผู้แข่งขันต้องใส่ฟันยาง ข. การละเมิดเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย ผู้ชี้ขาดจะให้นักมวยที่แต่งกายไม่สะอาดถูกต้องออกจากการแข่งขัน ในกรณีที่นวมหรือเครื่องแต่งกายของนักมวยไม่เรียบร้อยขณะแข่งขัน ผู้ชี้ขาดจะหยุดการแข่งขันเพื่อจัดให้เรียบร้อย
กติกาข้อที่ 6 " การจำแนกรุ่นและการชั่งน้ำหนัก "
ก. การจำแนกรุ่น และน้ำหนักที่ใช้ในการแข่งขัน 1. รุ่นมินิฟลายเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 104 ปอนด์ (47.727 กก.) 2. รุ่นจูเนียร์ฟลายเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 108 ปอนด์ (48.988 กก.) 3. รุ่นฟลายเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 112 ปอนด์ (50.802 กก.) 4. รุ่นจูเนียร์แบนตั้มเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 115 ปอนด์ (52.163 กก.) 5. รุ่นแบนตั้มเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กก.) 6. รุ่นจูเนียร์เฟเธอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 122 ปอนด์ (55.338 กก.) 7. รุ่นเฟเธอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 126 ปอนด์ (57.153 กก.) 8. รุ่นจูเนียร์ไลท์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 130 ปอนด์ (58.967 กก.) 9. รุ่นไลท์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 135 ปอนด์ (61.235 กก.) 11. รุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 140 ปอนด์ (63.503 กก.) 12. รุ่นเวลเตอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 147 ปอนด์ (66.638 กก.) 13. รุ่นจูเนียร์มิดเดิลเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 154 ปอนด์ (69.843 กก.) 14.รุ่นมิดเดิลเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 160 ปอนด์ (71.575 กก.) 15.รุ่นไลท์เฮฟวี่เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 175 ปอนด์ (79.379 กก.) 16. รุ่นครุยเซอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 190 ปอนด์ (86.183 กก.) 17. รุ่นเฮฟวี่เวท น้ำหนักเกิน 190 ปอนด์ขึ้นไป (86.183 กก. ขึ้นไป) ข. การชั่งน้ำหนัก 1. ผู้เข้าแข่งขันต้องชั่งน้ำหนักในวันแข่งขันอย่างตัวเปล่า โดยการาแข่งขันจะต้องไม่เริ่มขึ้นก่อน 3 ชั่วโมง ภายหลังจากเวลาชั่งน้ำหนัก 2. เมื่อหมดเวลาชั่งน้ำหนักที่กำหนดไว้ ผู้แข่งขันที่น้ำหนักเกินในการชั่งครั้งก่อน ให้ทำการชั่งเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนชั่งน้ำหนัก ผู้เข้าแข่งขัน 3. ต้องได้รับการรับรองและการตรวจจากนายแพทย์ที่ได้รับการแต่งตั้งว่าเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ที่จะเข้าแข่ง ขันได้
ให้ใช้ผ้าพันมืออย่างอ่อนยาวข้างละไม่เกิน 6 เมตร กว้างไม่เกิน 5 ซม. ผ้าพันมือชนิดอื่นใช้ไม่ได้ แถบกาวยางหรือพลาสเตอร์ทุกชนิด เป็นผ้าพันมือไม่ได้เด็ดขาด อาจใช้ พลาสเตอร์ยางไม่เกิน 2.5 เมตร กว่าง 2.5 ซม. ข้างละ 1 เส้น ปิดทับข้อมือหรือหลังมือห้ามพันทับสันหมัด
กติกาข้อที่ 5 " เครื่องแต่งกาย "
ก. การแต่งกายของผู้เข้าแข่งขัน1.ต้องสวมกางเกงขาสั้นเพียงครึ่งโคนขาให้เรียบร้อยไม่สวมเสื้อและรองเท้านักมวยมุมแดงให้กางเกงสีแดง ชมพู สีเลือดหมู หรือสีขาวที่มีแถบแดงคาด นักมวยมุมน้ำเงินใช้กางเกงสีน้ำเงิน และสีดำ ห้ามคาดแถบสีแดง และต้องสวมเสื้อคลุมตามข้อบังคับสภาพมวยไทยโลก 2 .ต้องสวมกระจับที่ทำขึ้นจากวัสดุแข็งแรงทนทาน และได้รับการรับรองจากสภามวยไทยโลกเมื่อถูกตีด้วยเข่าหรืออาวุธในการต่อสู้อย่างอื่นตรงบริเวณ อวัยวะเพศจะไม่ทำให้เกิดอันตราย การผูกกระจับต้องผูกปมไว้ด้านหลัง และต้องผูกด้วยเงื่อนตาย เก็บปลายเชือกส่วนที่เหลือให้เรียบร้อย 3.ห้ามไว้ผมยาวรุงรัง และห้ามไว้เครา อนุญาตให้ไว้หนวดได้แต่ต้องยาวไม่เกินริมฝีหาก เล็บเท้า ต้องตัดให้เรียบและสั้น 4. ต้องสวมมงคลผ้าประเจียด หรือรัดเกล้า เฉพาะเวลาร่ายรำไหว้ครู ก่อนทำการแข่งขันเท่านั้น เครื่องรางอนุญาตให้ผูกที่โคนแขน หรือเอว แต่ต้องหุ้มผ้าให้มิดชิดเรียบร้อย เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่คู่แข่งขัน 5.อนุญาตให้ใช้ปลอกยืดรัดข้อเท้ากันเคล็ด สวมข้อเท้าได้ข้างละไม่เกิน 1 อัน แต่ห้ามมิให้เลื่อนปลอกรัดขึ้นไปเป็นสนับแข้งหรือม้วนพับลงมา และห้ามใช้ผ้ารัดขาและข้อเท้า 6.ห้ามใช้เข็มขัดหรือสิ่งที่เป็นโลหะ สร้อย ฯลฯ 7.ห้ามใช้น้ำมันวาสลิน น้ำมันร้อน ไขหรือสมุนไพร หรือสิ่งอื่นที่ทำให้คู่แข่งขันเสียเปรียบหรือเป็นที่น่ารังเกียจทาร่างกายหรือนวม 8.ฟันยาง ผู้แข่งขันต้องใส่ฟันยาง ข. การละเมิดเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย ผู้ชี้ขาดจะให้นักมวยที่แต่งกายไม่สะอาดถูกต้องออกจากการแข่งขัน ในกรณีที่นวมหรือเครื่องแต่งกายของนักมวยไม่เรียบร้อยขณะแข่งขัน ผู้ชี้ขาดจะหยุดการแข่งขันเพื่อจัดให้เรียบร้อย
กติกาข้อที่ 6 " การจำแนกรุ่นและการชั่งน้ำหนัก "
ก. การจำแนกรุ่น และน้ำหนักที่ใช้ในการแข่งขัน 1. รุ่นมินิฟลายเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 104 ปอนด์ (47.727 กก.) 2. รุ่นจูเนียร์ฟลายเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 108 ปอนด์ (48.988 กก.) 3. รุ่นฟลายเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 112 ปอนด์ (50.802 กก.) 4. รุ่นจูเนียร์แบนตั้มเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 115 ปอนด์ (52.163 กก.) 5. รุ่นแบนตั้มเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กก.) 6. รุ่นจูเนียร์เฟเธอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 122 ปอนด์ (55.338 กก.) 7. รุ่นเฟเธอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 126 ปอนด์ (57.153 กก.) 8. รุ่นจูเนียร์ไลท์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 130 ปอนด์ (58.967 กก.) 9. รุ่นไลท์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 135 ปอนด์ (61.235 กก.) 11. รุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 140 ปอนด์ (63.503 กก.) 12. รุ่นเวลเตอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 147 ปอนด์ (66.638 กก.) 13. รุ่นจูเนียร์มิดเดิลเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 154 ปอนด์ (69.843 กก.) 14.รุ่นมิดเดิลเวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 160 ปอนด์ (71.575 กก.) 15.รุ่นไลท์เฮฟวี่เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 175 ปอนด์ (79.379 กก.) 16. รุ่นครุยเซอร์เวท น้ำหนักอย่างมากไม่เกิน 190 ปอนด์ (86.183 กก.) 17. รุ่นเฮฟวี่เวท น้ำหนักเกิน 190 ปอนด์ขึ้นไป (86.183 กก. ขึ้นไป) ข. การชั่งน้ำหนัก 1. ผู้เข้าแข่งขันต้องชั่งน้ำหนักในวันแข่งขันอย่างตัวเปล่า โดยการาแข่งขันจะต้องไม่เริ่มขึ้นก่อน 3 ชั่วโมง ภายหลังจากเวลาชั่งน้ำหนัก 2. เมื่อหมดเวลาชั่งน้ำหนักที่กำหนดไว้ ผู้แข่งขันที่น้ำหนักเกินในการชั่งครั้งก่อน ให้ทำการชั่งเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนชั่งน้ำหนัก ผู้เข้าแข่งขัน 3. ต้องได้รับการรับรองและการตรวจจากนายแพทย์ที่ได้รับการแต่งตั้งว่าเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ที่จะเข้าแข่ง ขันได้
กติกาข้อที่ 7 " การไหว้ครูและจำนวนยก "
ก่อนเริ่มการแข่งขันในยกแรก นักมวยทั้งคู่ต้องร่ายรำไหว้ครูตามประเพณี และถูกต้องตามรูปแบบมวยไทย โดยมีดนตรีประกอบ คือ ปี่ชวา ฉิ่งจับหวังหวะ และกลองแขก เมื่อร่ายรำไหว้ครูเสร็จแล้ว จึงให้เริ่มการแข่งขัน ในการแข่งขัน ให้แข่งยัน 5 ยก ยกละ 3 นาที หยุดพักระหว่างยก 2 นาที การหยุดการแข่งขันเพื่อตำหนิโทษ เตือน จัดเครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ของนักมวย ให้เรียบร้อย หรือด้วยเหตุอื่น ๆ ไม่นับรวมอยู่ใน 3 นาที
กติกาข้อที่ 8 " นักมวย "
1. นักมวยต้องมีคุณสมบัติดังนี้2. อายุไม่ต่ำกว่า 14 ปี บริบูรณ์ 3. น้ำหนักไม่ต่ำกว่า 100 ปอนด์ 4. ต้องไม่เป็นที่ต้องห้ามตามที่ระบุไว้ในคู่มือแพทย์ของสภามวยไทยโลก
กติกาข้อที่ 9 " พี่เลี้ยง "
1. ผู้แข่งขันแต่ละคนให้มีพี่เลี้ยง 2 คน ซึ่งต้องปฏิบัติตามกติกาดังต่อไปนี้ พี่เลี้ยงจะแนะนำ ช่วยเหลือ หรือส่งเสริมผู้แข่งขันของตนในระหว่างการชกกำลังดำเนิน อยู่ไม่ได้ ถ้าพี่เลี้ยงละเมิดกติกา อาจถูกตำหนิโทษหรือให้ออกจากหน้าที่ นักมวยของเขาอาจถูกผู้ชี้ขาดเตือน ตำหนิโทษ หรือให้ออกจากการแข่งขัน อันเนื่องมา จากการทำผิดของพี่เลี้ยง 2. พี่เลี้ยงจะยอมแพ้แทนผู้แข่งขันของตน เช่น โยนฟองน้ำ หรือผ้าเช็ดตัว เข้าไปในสังเวียนไม่ได้ 3.ในระหว่างการชกพี่เลี้ยง จะต้องอยู่ในที่นั่งของตน ก่อนเริ่มการแข่งขันในแต่ละยกให้พี่เลี้ยงนำผ้าเช็ดตัว ขวดน้ำ ฯลฯ ออกไปจากขอบสังเวียน 4. ขณะปฏิบัติหน้าที่อยู่ที่มุมระหว่างพักยก พี่เลี้ยงต้องตรวจดูเครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ของนักมวยของตนให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย พร้อมแข่งขันก่อนสัญญาณของยกต่อไปจะดังขึ้น และถ้ามีเหตุที่นอกเหนือความสามารถ พี่เลี้ยงจะต้องรีบแจ้งให้ผู้ชี้ขาดทราบทันที ถ้าพี่เลี้ยงละเมิดกติกาอาจถูกตำหนิโทษหรือให้ออกจากหน้าที่ นักมวยของเขาอาจถูกผู้ชี้ขาดเตือนหรือตำหนิโทษได้ 5. การให้น้ำนักมวย พี่เลี้ยงจะต้องไม่ให้น้ำนักมวยของตนจนเปียกชุ่ม และต้องไม่ทำให้พื้นเวทีเปียกลื่น จนอาจเป็นอันตรายกับคู่แข่งขัน 6. พี่เลี้ยงต้องสวมเสื้อแสดงสัญลักษณ์คณะนักมวยของตนให้สุภาพเรียบร้อย 7. ห้ามพี่เลี้ยงใช้วาจาไม่สุภาพหรือทำร้ายนักมวยของตน ระหว่างการแข่งขัน และภายหลังการแข่งขัน 8. ถ้าเป็นการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยน หรือป้องกันตำแหน่ง ให้มีพี่เลี้ยงได้ฝ่ายละ 3 คน แต่ในการพักระหว่างยก พี่เลี้ยงจะเข้าไปในสังเวียนได้เพียง 2 คนเท่านั้น 9. ในการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยน หรือป้องกันตำแหน่ง ประธานผู้ตัดสินจะต้องจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้ชี้ขาด ผู้ตัดสิน ผู้จัดการ และพี่เลี้ยงนักมวย เพื่อเน้นให้ทุกคนทราบว่า การไม่ปฏิบัติตามกติกานี้ อาจไม่เพียงถูกตัดคะแนนเท่านั้น แต่ยังอาจถูกตัดสินให้แพ้หรือให้ออกจากการแข่งขัน
กติกาข้อที่ 10 " คณะกรรมการ "
ก. คุณสมบัติของผู้ชี้ขาด และผู้ตัดสิน ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ต้องมีหนังสือรับรองจากแพทย์ของสภามวยไทยโลกรับรองว่าเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ เหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ต้องมีหลักฐานแสดงประสบการณ์ที่ผ่านมา สมรรถภาพทางกาย อายุที่ถูกต้องและหลักฐานการประกอบอาชีพ ต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการสภาพมวยไทยโลก ข. สถานะภาพของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ผู้ที่ผ่านการอบรมและการทดสอบจากคณะกรรมการผู้ตัดสิน สภาพมวยไทยโลก จะได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสินมวยไทย และตราของสภามวยไทยโลก พร้อมกับประกาศนียบัตร ผู้ชี้ขาด และผู้ตัดสินสภามวยไทยโลก ต้องมีอายุไม่เกิน 60 ปี เว้นแต่คณะกรรมการผู้ตัดสินฯ พิจารณาให้ดำรงตำแหน่งผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสินต่อไป ในระยะเวลาที่ เห็นสมควร คณะอนุกรรมการผู้ตัดสิน ฯ มีอำนาจให้ผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน พ้นจากหน้าที่ เมื่อการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ไม่มีประสิทธิภาพหรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ค. จำนวนผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ในการแข่งขันต้องมีกรรมการ 4 คน คือ กรรมการผู้ชี้ขาดบนเวที 1 คน และกรรมการผู้ตัดสิน 3 คน ทั้งนี้ต้องมีประธานผู้ตัดสินเป็นผู้ควบคุมการแข่งขันอีกด้วย
ก่อนเริ่มการแข่งขันในยกแรก นักมวยทั้งคู่ต้องร่ายรำไหว้ครูตามประเพณี และถูกต้องตามรูปแบบมวยไทย โดยมีดนตรีประกอบ คือ ปี่ชวา ฉิ่งจับหวังหวะ และกลองแขก เมื่อร่ายรำไหว้ครูเสร็จแล้ว จึงให้เริ่มการแข่งขัน ในการแข่งขัน ให้แข่งยัน 5 ยก ยกละ 3 นาที หยุดพักระหว่างยก 2 นาที การหยุดการแข่งขันเพื่อตำหนิโทษ เตือน จัดเครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ของนักมวย ให้เรียบร้อย หรือด้วยเหตุอื่น ๆ ไม่นับรวมอยู่ใน 3 นาที
กติกาข้อที่ 8 " นักมวย "
1. นักมวยต้องมีคุณสมบัติดังนี้2. อายุไม่ต่ำกว่า 14 ปี บริบูรณ์ 3. น้ำหนักไม่ต่ำกว่า 100 ปอนด์ 4. ต้องไม่เป็นที่ต้องห้ามตามที่ระบุไว้ในคู่มือแพทย์ของสภามวยไทยโลก
กติกาข้อที่ 9 " พี่เลี้ยง "
1. ผู้แข่งขันแต่ละคนให้มีพี่เลี้ยง 2 คน ซึ่งต้องปฏิบัติตามกติกาดังต่อไปนี้ พี่เลี้ยงจะแนะนำ ช่วยเหลือ หรือส่งเสริมผู้แข่งขันของตนในระหว่างการชกกำลังดำเนิน อยู่ไม่ได้ ถ้าพี่เลี้ยงละเมิดกติกา อาจถูกตำหนิโทษหรือให้ออกจากหน้าที่ นักมวยของเขาอาจถูกผู้ชี้ขาดเตือน ตำหนิโทษ หรือให้ออกจากการแข่งขัน อันเนื่องมา จากการทำผิดของพี่เลี้ยง 2. พี่เลี้ยงจะยอมแพ้แทนผู้แข่งขันของตน เช่น โยนฟองน้ำ หรือผ้าเช็ดตัว เข้าไปในสังเวียนไม่ได้ 3.ในระหว่างการชกพี่เลี้ยง จะต้องอยู่ในที่นั่งของตน ก่อนเริ่มการแข่งขันในแต่ละยกให้พี่เลี้ยงนำผ้าเช็ดตัว ขวดน้ำ ฯลฯ ออกไปจากขอบสังเวียน 4. ขณะปฏิบัติหน้าที่อยู่ที่มุมระหว่างพักยก พี่เลี้ยงต้องตรวจดูเครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ของนักมวยของตนให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย พร้อมแข่งขันก่อนสัญญาณของยกต่อไปจะดังขึ้น และถ้ามีเหตุที่นอกเหนือความสามารถ พี่เลี้ยงจะต้องรีบแจ้งให้ผู้ชี้ขาดทราบทันที ถ้าพี่เลี้ยงละเมิดกติกาอาจถูกตำหนิโทษหรือให้ออกจากหน้าที่ นักมวยของเขาอาจถูกผู้ชี้ขาดเตือนหรือตำหนิโทษได้ 5. การให้น้ำนักมวย พี่เลี้ยงจะต้องไม่ให้น้ำนักมวยของตนจนเปียกชุ่ม และต้องไม่ทำให้พื้นเวทีเปียกลื่น จนอาจเป็นอันตรายกับคู่แข่งขัน 6. พี่เลี้ยงต้องสวมเสื้อแสดงสัญลักษณ์คณะนักมวยของตนให้สุภาพเรียบร้อย 7. ห้ามพี่เลี้ยงใช้วาจาไม่สุภาพหรือทำร้ายนักมวยของตน ระหว่างการแข่งขัน และภายหลังการแข่งขัน 8. ถ้าเป็นการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยน หรือป้องกันตำแหน่ง ให้มีพี่เลี้ยงได้ฝ่ายละ 3 คน แต่ในการพักระหว่างยก พี่เลี้ยงจะเข้าไปในสังเวียนได้เพียง 2 คนเท่านั้น 9. ในการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยน หรือป้องกันตำแหน่ง ประธานผู้ตัดสินจะต้องจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้ชี้ขาด ผู้ตัดสิน ผู้จัดการ และพี่เลี้ยงนักมวย เพื่อเน้นให้ทุกคนทราบว่า การไม่ปฏิบัติตามกติกานี้ อาจไม่เพียงถูกตัดคะแนนเท่านั้น แต่ยังอาจถูกตัดสินให้แพ้หรือให้ออกจากการแข่งขัน
กติกาข้อที่ 10 " คณะกรรมการ "
ก. คุณสมบัติของผู้ชี้ขาด และผู้ตัดสิน ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ต้องมีหนังสือรับรองจากแพทย์ของสภามวยไทยโลกรับรองว่าเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ เหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ต้องมีหลักฐานแสดงประสบการณ์ที่ผ่านมา สมรรถภาพทางกาย อายุที่ถูกต้องและหลักฐานการประกอบอาชีพ ต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการสภาพมวยไทยโลก ข. สถานะภาพของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ผู้ที่ผ่านการอบรมและการทดสอบจากคณะกรรมการผู้ตัดสิน สภาพมวยไทยโลก จะได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสินมวยไทย และตราของสภามวยไทยโลก พร้อมกับประกาศนียบัตร ผู้ชี้ขาด และผู้ตัดสินสภามวยไทยโลก ต้องมีอายุไม่เกิน 60 ปี เว้นแต่คณะกรรมการผู้ตัดสินฯ พิจารณาให้ดำรงตำแหน่งผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสินต่อไป ในระยะเวลาที่ เห็นสมควร คณะอนุกรรมการผู้ตัดสิน ฯ มีอำนาจให้ผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน พ้นจากหน้าที่ เมื่อการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ไม่มีประสิทธิภาพหรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ค. จำนวนผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ในการแข่งขันต้องมีกรรมการ 4 คน คือ กรรมการผู้ชี้ขาดบนเวที 1 คน และกรรมการผู้ตัดสิน 3 คน ทั้งนี้ต้องมีประธานผู้ตัดสินเป็นผู้ควบคุมการแข่งขันอีกด้วย
กติกาข้อที่ 11 " ผู้ชี้ขาด "
ก. ความรับผิดชอบอันดับแรก คือ การระมัดระวังดูแล เอาใจใส่นักมวย เป็นหน้าที่สำคัญของผู้ชี้ขาด ข. หน้าที่ผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดที่จะปฏิบัติหน้าที่ในสังเวียน จะต้องแต่งกายด้วยกางเกงขายาวสีน้ำเงิน เสื้อเชิ้ตสี่น้ำเงินมีเครื่องหมายของสภามวยไทยโลก และรองเท้าหุ้มข้อชนิดเบาที่ไม่มีสันรองเท้า ต้องไม่สวมแว่นหรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ เล็บมือตัดเรียบสั้น และผู้ชี้ขาดต้อง
1. รักษากติกาและความเป็นธรรมอย่างเคร่งครัด 2. ต้องไม่แสดงกริยาวาจาที่ไม่สุภาพต่อนักมวยและผู้ชม 3 .ควบคุมการแข่งขันทุกระยะโดยตลอด 4. ป้องกันนักมวยที่อ่อนแอกว่าไม่ให้ได้รับความบอบช้ำเกินควรโดยไม่จำเป็น 5. ตรวจนวมและเครื่องแต่งกายของนักมวย และฟันยาง 6. ก่อนการแข่งขันในยกแรกต้องให้นักมวยทั้งคู่จับมือกันกลางเวที และเตือนกติกาที่สำคัญ ๆ บางประการ การจับมือจะกระทำอีกครั้งหนึ่งก่อนเริ่มการแข่งขัน ในยกสุดท้าย ห้ามนักมวยทั้งสองจับมือกันระหว่างการแข่งขัน 7. ผู้ชี้ขาดที่ทำหน้าที่ในการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยนหรือป้องกันตำแหน่งต้องชี้แจงกติกาโดยสรุปให้นักมวยและพี่เลี้ยงของนักมวยทั้งสอย ฝ่ายทราบในห้องแต่งกายก่อนขึ้นเวที 8. ผู้ชี้ขาด ต้องใช้คำสั่ง 3 คำ คือ”หยุด” เมื่อสั่งให้นักมวยหยุดชก ”แยก” เมื่อสั่งให้นักมวยแยกออกจากการกอดรัด ”ชก” เมื่อสั่งให้นักมวยชกต่อไป ในกรณีที่ผู้ชี้ขาดสั่งแยก ผู้แข่งขันทั้งสอนต้องถอยหลังออกมาก่อนอย่างน้อยคนละ 1 ก้าว แล้วจึงชกต่อไป 9. ผู้ชี้ขาด ต้องแสดงสัญญาณที่ถูกต้องให้นักมวยที่ละเมิดกติกาทราบถึงความผิด 10. เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันต้องรวบรวมบัตรให้คะแนนของผู้ตัดสินทั้ง 3 คน จากนั้น ชี้มุมผู้ชนะตามเสียงข้างมาก แล้วชูมือนักมวยผู้ชนะขึ้น นำบัตรคะแนนผู้ตัดสินทั้ง 3 คน ให้ประธานผู้ตัดสินตรวจสอบ 11. ในการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยนหรือป้องกันตำแหน่ง ผู้ชี้ขาดจะต้องเก็บบัตรคะแนนจากผู้ตัดสินทั้ง 3 คน ภายหลังจบการแข่งขันทุกยก ตรวจสอบแล้วรวบรวมบัตรคะแนนส่งให้กับกรรมการรวมคะแนนและชูมือผู้ชนะภายหลังจากผู้ประกาศผลการแข่งขันแล้ว 12. เมื่อผู้ชี้ขาดรับมวยเป็นแพ้หรือยุติการชก จะต้องไปแจ้งเหตุผลให้ประธานผู้ตัดสินทราบหลังจากประกาศให้ผู้ชมทราบแล้ว 13. ในกรณีที่ผู้ชี้ขาดไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ ให้ผู้ตัดสินที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่แทน 14. ต้องไม่แสดงเจตนาใด ๆ อันส่อให้เห็นว่า ให้คุณโทษแก่นักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เช่น นับช้า-นับเร็ว, เตือน-ไม่เตือน ฯลฯ อันจะมีผลต่อการได้เปรียบหรือเสียเปรียบแก่นักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง 14. ต้องไม่วิพากษ์วิจารณ์ชี้นำหรือให้สัมภาษณ์ต่อผลการชกที่ไม่เกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้วก็ตาม เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากประธานผู้ตัดสิน 15. การตรวจร่างกายผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดต้องผ่านการตรวจร่างกายจากแพทย์ของสภามวยไทยโลกอย่างน้อยปีละครั้ง และก่อนปฏิบัติหน้าที่ในการแข่งขันแต่ละครั้งผู้ชี้ขาดต้องได้รับการตรวจร่างกายว่า เป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์พอที่จะปฏิบัติหน้าที่ในสังเวียนได้ ค. อำนาจผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดมีอำนาจ 1. ยุติการแข่งขัน เมื่อเห็นว่าฝ่ายหนึ่งมีฝีมือเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่งมาก หรือชกอยู่ข้างเดียว 2. ยุติการแข่งขันเมื่อเห็นว่า นักมวยบาดเจ็บจนไม่สามารถจะให้ชกต่อไปได้ 3. ยุติการแข่งขันเมื่อเห็นว่า นักมวยไม่แข่งขันกันโดยจริงจัง ในกรณีเช่นนี้ อาจให้นักมวยคนหนึ่งหรือสองคนออกจากการแข่งขันก็ได้ 4. เตือนนักมวย หรือหยุดการแข่งขัน เพื่อตำหนิโทษนักมวยที่กระทำฟาล์ว หรือด้วยเหตุอื่น เพื่อความยุติธรรม หรือเพื่อความเป็นธรรมในการปฏิบัติตามกติกา 5. ให้นักมวยที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งโดยฉับพลัน ทำร้าย หรือก้าวร้าวผู้ชี้ขาดออกจากการแข่งขัน 6. ให้พี่เลี้ยงที่ละเมิดกติกาออกจากหน้าที่ และให้นักมวยออกจากการแข่งขัน ถ้าพี่เลี้ยงไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ชี้ขาด 7 .ให้ผู้แข่งขันที่กระทำฟาล์วออกจากการแข่งขันโดยได้ตำหนิโทษหรือยังไม่ได้ตำหนิโทษผู้แข่งขันนั้นมาก่อนก็ตาม หรือถ้าพิจารณาเห็นว่า การกระทำนั้นเป็นการกระทำเพื่อต้องการให้ตนเองถูกจับแพ้ฟาล์ว 8. การแข่งขันในยกใดยกหนึ่ง เมื่อนักมวยที่ถูกนับไปแล้ว ผู้ชี้ขาดสั่งให้ชกได้และได้พิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้วว่า นักมวยที่ถูกนับชกไม่เต็มฝีมือ ผู้ชี้ขาดมีสิทธิยุติการแข่งขันได้ 9. ต้องไม่ปล่อยให้นักมวยที่เจตนาทำฟาล์วเป็นฝ่ายได้เปรียบ เช่น จับเชือกเตะ จับเชือกตีเข่า เป็นต้น ฯลฯ ง. การตำหนิโทษผู้ละเมิดกติกา ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยหยุดชกเสียก่อน การตำแหนิโทษต้องกระทำอย่างชัดแจ้ง เพื่อให้นักมวยเข้าใจเหตุและความมุ่งหมายของการ ตำหนิโทษนั้น ผู้ที่ขาดต้องให้สัญญาณมือและชี้ตัวนักมวยให้ผู้ตัดสินทุกคนทราบว่าได้มีการตำหนิโทษ หลังจากตำหนิโทษแล้ว ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยชก ถ้านักมวยถูกตำหนิโทษ 3 ครั้ง อาจถูกปรับให้แพ้หรือให้ออกจากการแข่งขันหากเป็นการกระทำผิดกติกาที่ร้ายแรง ให้อยู่ในดุลย์พินิจของผู้ชี้ขาด จ. การเตือน ผู้ชี้ขาดอาจเตือนนักมวยได้ การเตือนเป็นการแนะนำหรือให้นักมวยระมัดระวัง หรือป้องกันไม่ให้นักมวยกระทำในสิ่งไม่พึงประสงค์ที่เป็นการละเมิดกติกา ในการเตือนที่ไม่ผิด กติกาในระหว่างการแข่งขันนั้นได้ 1. เมื่อนักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งออกนอกเชือก (นอกสังเวียน) ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยอีกคนหนึ่งไปอยู่มุมกลางที่ไกล ถ้านักมวยที่ออกไปนอกเชือกยังชักช้าไม่เข้ามาภายในสังเวียนให้ผู้ชี้ขาดนับทันที (นับ 10) 2. นักมวยตกเวที ให้ผู้ชี้ขาดนับ 20 (20 วินาที) - เมื่อนักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกจากเวที ให้ผู้ชีขาดนับได้ทันที ถ้านักมวยสามารถกลับเข้ามาภายในเชือกก่อนการนับจะสิ้นสุด ให้ทำกาแข่งขันต่อไป นักมวยจะไม่เสียคะแนนจากการนับครั้งนั้น - เมื่อนักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกจากเวที ถูกผู้หนึ่งผู้ใดทำการขัดขวางและหน่วงเหนี่ยวไม่ให้ขึ้นเวที ให้ผู้ชี้ขาดหยุดนับ และตักเตือนให้ชัดเจนแล้วจึงนับต่อไป ถ้าผู้หนึ่งผู้ใดไม่เชื่อฟัง ให้หยุดการแข่งขันแล้วแจ้งประธานผู้ตัดสินทราบ - เมื่อนักมวยทั้งสองฝ่ายตกจากเวที ให้ผู้ชี้ขาดเริ่มนับ หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดพยายามหน่วงเหนียวด้วยวิธีใดก็ตาม ให้หยุดการนับและตักเตือนให้ชัดเจน แล้วจึงเริ่มนับต่อถ้านักมวยผู้นั้นไม่รับฟัง ให้ปรับนักมวยคนนั้นเป็นแพ้ หรือให้ออกจากการแข่งขัน - ถ้านักมวยทั้งสองฝ่ายตกจากเวที ให้ผู้ชี้ขาดเริ่มนับ ถ้านักมวยฝ่ายใดกลับเข้ามาภายในเชือกก่อนการนับสิ้นสุดลงจะเป็นผู้ชนะ แต่ถ้านักมวยทั้งสองฝ่ายไม่กลับเข้ามาภายในเชือกก่อนการนับสิ้นสุดลง ให้ตัดสินเป็นเสมอ
ก. ความรับผิดชอบอันดับแรก คือ การระมัดระวังดูแล เอาใจใส่นักมวย เป็นหน้าที่สำคัญของผู้ชี้ขาด ข. หน้าที่ผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดที่จะปฏิบัติหน้าที่ในสังเวียน จะต้องแต่งกายด้วยกางเกงขายาวสีน้ำเงิน เสื้อเชิ้ตสี่น้ำเงินมีเครื่องหมายของสภามวยไทยโลก และรองเท้าหุ้มข้อชนิดเบาที่ไม่มีสันรองเท้า ต้องไม่สวมแว่นหรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ เล็บมือตัดเรียบสั้น และผู้ชี้ขาดต้อง
1. รักษากติกาและความเป็นธรรมอย่างเคร่งครัด 2. ต้องไม่แสดงกริยาวาจาที่ไม่สุภาพต่อนักมวยและผู้ชม 3 .ควบคุมการแข่งขันทุกระยะโดยตลอด 4. ป้องกันนักมวยที่อ่อนแอกว่าไม่ให้ได้รับความบอบช้ำเกินควรโดยไม่จำเป็น 5. ตรวจนวมและเครื่องแต่งกายของนักมวย และฟันยาง 6. ก่อนการแข่งขันในยกแรกต้องให้นักมวยทั้งคู่จับมือกันกลางเวที และเตือนกติกาที่สำคัญ ๆ บางประการ การจับมือจะกระทำอีกครั้งหนึ่งก่อนเริ่มการแข่งขัน ในยกสุดท้าย ห้ามนักมวยทั้งสองจับมือกันระหว่างการแข่งขัน 7. ผู้ชี้ขาดที่ทำหน้าที่ในการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยนหรือป้องกันตำแหน่งต้องชี้แจงกติกาโดยสรุปให้นักมวยและพี่เลี้ยงของนักมวยทั้งสอย ฝ่ายทราบในห้องแต่งกายก่อนขึ้นเวที 8. ผู้ชี้ขาด ต้องใช้คำสั่ง 3 คำ คือ”หยุด” เมื่อสั่งให้นักมวยหยุดชก ”แยก” เมื่อสั่งให้นักมวยแยกออกจากการกอดรัด ”ชก” เมื่อสั่งให้นักมวยชกต่อไป ในกรณีที่ผู้ชี้ขาดสั่งแยก ผู้แข่งขันทั้งสอนต้องถอยหลังออกมาก่อนอย่างน้อยคนละ 1 ก้าว แล้วจึงชกต่อไป 9. ผู้ชี้ขาด ต้องแสดงสัญญาณที่ถูกต้องให้นักมวยที่ละเมิดกติกาทราบถึงความผิด 10. เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันต้องรวบรวมบัตรให้คะแนนของผู้ตัดสินทั้ง 3 คน จากนั้น ชี้มุมผู้ชนะตามเสียงข้างมาก แล้วชูมือนักมวยผู้ชนะขึ้น นำบัตรคะแนนผู้ตัดสินทั้ง 3 คน ให้ประธานผู้ตัดสินตรวจสอบ 11. ในการแข่งขันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์เปี้ยนหรือป้องกันตำแหน่ง ผู้ชี้ขาดจะต้องเก็บบัตรคะแนนจากผู้ตัดสินทั้ง 3 คน ภายหลังจบการแข่งขันทุกยก ตรวจสอบแล้วรวบรวมบัตรคะแนนส่งให้กับกรรมการรวมคะแนนและชูมือผู้ชนะภายหลังจากผู้ประกาศผลการแข่งขันแล้ว 12. เมื่อผู้ชี้ขาดรับมวยเป็นแพ้หรือยุติการชก จะต้องไปแจ้งเหตุผลให้ประธานผู้ตัดสินทราบหลังจากประกาศให้ผู้ชมทราบแล้ว 13. ในกรณีที่ผู้ชี้ขาดไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ ให้ผู้ตัดสินที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่แทน 14. ต้องไม่แสดงเจตนาใด ๆ อันส่อให้เห็นว่า ให้คุณโทษแก่นักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เช่น นับช้า-นับเร็ว, เตือน-ไม่เตือน ฯลฯ อันจะมีผลต่อการได้เปรียบหรือเสียเปรียบแก่นักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง 14. ต้องไม่วิพากษ์วิจารณ์ชี้นำหรือให้สัมภาษณ์ต่อผลการชกที่ไม่เกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้วก็ตาม เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากประธานผู้ตัดสิน 15. การตรวจร่างกายผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดต้องผ่านการตรวจร่างกายจากแพทย์ของสภามวยไทยโลกอย่างน้อยปีละครั้ง และก่อนปฏิบัติหน้าที่ในการแข่งขันแต่ละครั้งผู้ชี้ขาดต้องได้รับการตรวจร่างกายว่า เป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์พอที่จะปฏิบัติหน้าที่ในสังเวียนได้ ค. อำนาจผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดมีอำนาจ 1. ยุติการแข่งขัน เมื่อเห็นว่าฝ่ายหนึ่งมีฝีมือเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่งมาก หรือชกอยู่ข้างเดียว 2. ยุติการแข่งขันเมื่อเห็นว่า นักมวยบาดเจ็บจนไม่สามารถจะให้ชกต่อไปได้ 3. ยุติการแข่งขันเมื่อเห็นว่า นักมวยไม่แข่งขันกันโดยจริงจัง ในกรณีเช่นนี้ อาจให้นักมวยคนหนึ่งหรือสองคนออกจากการแข่งขันก็ได้ 4. เตือนนักมวย หรือหยุดการแข่งขัน เพื่อตำหนิโทษนักมวยที่กระทำฟาล์ว หรือด้วยเหตุอื่น เพื่อความยุติธรรม หรือเพื่อความเป็นธรรมในการปฏิบัติตามกติกา 5. ให้นักมวยที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งโดยฉับพลัน ทำร้าย หรือก้าวร้าวผู้ชี้ขาดออกจากการแข่งขัน 6. ให้พี่เลี้ยงที่ละเมิดกติกาออกจากหน้าที่ และให้นักมวยออกจากการแข่งขัน ถ้าพี่เลี้ยงไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ชี้ขาด 7 .ให้ผู้แข่งขันที่กระทำฟาล์วออกจากการแข่งขันโดยได้ตำหนิโทษหรือยังไม่ได้ตำหนิโทษผู้แข่งขันนั้นมาก่อนก็ตาม หรือถ้าพิจารณาเห็นว่า การกระทำนั้นเป็นการกระทำเพื่อต้องการให้ตนเองถูกจับแพ้ฟาล์ว 8. การแข่งขันในยกใดยกหนึ่ง เมื่อนักมวยที่ถูกนับไปแล้ว ผู้ชี้ขาดสั่งให้ชกได้และได้พิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้วว่า นักมวยที่ถูกนับชกไม่เต็มฝีมือ ผู้ชี้ขาดมีสิทธิยุติการแข่งขันได้ 9. ต้องไม่ปล่อยให้นักมวยที่เจตนาทำฟาล์วเป็นฝ่ายได้เปรียบ เช่น จับเชือกเตะ จับเชือกตีเข่า เป็นต้น ฯลฯ ง. การตำหนิโทษผู้ละเมิดกติกา ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยหยุดชกเสียก่อน การตำแหนิโทษต้องกระทำอย่างชัดแจ้ง เพื่อให้นักมวยเข้าใจเหตุและความมุ่งหมายของการ ตำหนิโทษนั้น ผู้ที่ขาดต้องให้สัญญาณมือและชี้ตัวนักมวยให้ผู้ตัดสินทุกคนทราบว่าได้มีการตำหนิโทษ หลังจากตำหนิโทษแล้ว ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยชก ถ้านักมวยถูกตำหนิโทษ 3 ครั้ง อาจถูกปรับให้แพ้หรือให้ออกจากการแข่งขันหากเป็นการกระทำผิดกติกาที่ร้ายแรง ให้อยู่ในดุลย์พินิจของผู้ชี้ขาด จ. การเตือน ผู้ชี้ขาดอาจเตือนนักมวยได้ การเตือนเป็นการแนะนำหรือให้นักมวยระมัดระวัง หรือป้องกันไม่ให้นักมวยกระทำในสิ่งไม่พึงประสงค์ที่เป็นการละเมิดกติกา ในการเตือนที่ไม่ผิด กติกาในระหว่างการแข่งขันนั้นได้ 1. เมื่อนักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งออกนอกเชือก (นอกสังเวียน) ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยอีกคนหนึ่งไปอยู่มุมกลางที่ไกล ถ้านักมวยที่ออกไปนอกเชือกยังชักช้าไม่เข้ามาภายในสังเวียนให้ผู้ชี้ขาดนับทันที (นับ 10) 2. นักมวยตกเวที ให้ผู้ชี้ขาดนับ 20 (20 วินาที) - เมื่อนักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกจากเวที ให้ผู้ชีขาดนับได้ทันที ถ้านักมวยสามารถกลับเข้ามาภายในเชือกก่อนการนับจะสิ้นสุด ให้ทำกาแข่งขันต่อไป นักมวยจะไม่เสียคะแนนจากการนับครั้งนั้น - เมื่อนักมวยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกจากเวที ถูกผู้หนึ่งผู้ใดทำการขัดขวางและหน่วงเหนี่ยวไม่ให้ขึ้นเวที ให้ผู้ชี้ขาดหยุดนับ และตักเตือนให้ชัดเจนแล้วจึงนับต่อไป ถ้าผู้หนึ่งผู้ใดไม่เชื่อฟัง ให้หยุดการแข่งขันแล้วแจ้งประธานผู้ตัดสินทราบ - เมื่อนักมวยทั้งสองฝ่ายตกจากเวที ให้ผู้ชี้ขาดเริ่มนับ หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดพยายามหน่วงเหนียวด้วยวิธีใดก็ตาม ให้หยุดการนับและตักเตือนให้ชัดเจน แล้วจึงเริ่มนับต่อถ้านักมวยผู้นั้นไม่รับฟัง ให้ปรับนักมวยคนนั้นเป็นแพ้ หรือให้ออกจากการแข่งขัน - ถ้านักมวยทั้งสองฝ่ายตกจากเวที ให้ผู้ชี้ขาดเริ่มนับ ถ้านักมวยฝ่ายใดกลับเข้ามาภายในเชือกก่อนการนับสิ้นสุดลงจะเป็นผู้ชนะ แต่ถ้านักมวยทั้งสองฝ่ายไม่กลับเข้ามาภายในเชือกก่อนการนับสิ้นสุดลง ให้ตัดสินเป็นเสมอ
กติกาข้อที่ 12 " ผู้ตัดสิน " ก. หน้าที่ผู้ตัดสิน
1. ผู้ตัดสินแต่ละคนต้องตัดสินการชกของคู่แข่งขันโดยอิสระ และต้องตัดสินไปตามกติกา ว่าผู้ใดเป็นผู้ชนะ 2. ผู้ตัดสินแต่ละคนต้องอยู่คนละด้านของเวทีแลชะห่างจากผู้ชม 3. ในระหว่างที่การแข่งขันกำลังดำเนินอยู่ ผู้ตัดสินต้องไม่พูดกับผู้แข่งขัน กับผู้ตัดสินด้วยกัน กับบุคคลอื่น ยกเว้นผู้ชี้ขาด ถ้ามีความจำเป็นให้ใช้เวลาหยุดพักระหว่างยก แจ้งให้ผู้ชี้ขาดทราบว่ามีเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น พี่เลี้ยงปฏิบัติผิดมารยาท เชือกหย่อน ฯลฯ ซึ่งผู้ชี้ขาดอาจไม่สังเกตเห็นในขณะนั้น 4. ผู้ตัดสินต้องให้คะแนนแก่ผู้แข่งขันทั้งสองลงในบัตรบันทึกคะแนน ทันทีที่สิ้นสุดการแข่งขันแต่ละยก 5. ผู้ตัดสินต้องไม่ลุกจากที่นั่งให้คะแนน จนกว่าผู้ชี้ขาดจะชูมือตัดสินผลการแข่งขันแล้วข. การแต่งกาย ผู้ตัดสินต้องแต่งกายตามที่ สภามวยไทยโลก กำหนด กติกาข้อที่ 13 " การใช้อำนาจเหนือผู้ชี้ขาดและ/หรือผู้ตัดสิน " คำตัดสินของผู้ชี้ขาด และ/หรือผู้ตัดสิน อาจถูกประธานผู้ตัดสินแก้ไขในกรณีต่อไปนี้
1. เมื่อผู้ชี้ขาดปฏิบัติหน้าที่หรือให้คำตัดสินค้านกับบทบัญญัติและกติกาอย่างชัดแจ้ง 2. เมื่อเป็นที่แน่ชัดว่า ผู้ตัดสิน ผิดพลาดในบัตรให้คะแนน อันมีผลทำให้คำตัดสินผิดไป
กติกาข้อที่ 14 " ประธานผู้ตัดสิน " หน้าที่ของประธานผู้ตัดสิน
1. จัดกรรมการผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ให้ปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละรายการ 2. ปรับปรุงมาตรฐานของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ให้เป็นไปตามบทบัญญัติและกติกา 3. พิจารณาเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสินที่ผ่านมา และหากมีผู้ชี้ขาดหรือผู้ตัดสินคนใดปฏิบัติหน้าที่ไม่ถูกต้องหรือไม่มีประสิทธิภาพ ต้องรายงานให้คณะกรรมการสภามวยไทยโลกทราบ 4. แก้ไขปัญหาเบื้องต้นอันเกิดจากการแข่งขัน และรายงานให้คณะกรรมการสภามวยไทยโลกทราบ 5. ประธานผู้ตัดสินจะต้องให้คำปรึกษาผู้ชี้ขาดและผู้ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ ก็ตามที่จำเป็นต้องตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งลงไป 6. ประธานผู้ตัดสินจะต้องตรวจสอบบัตรให้คะแนนของผู้ตัดสินทั้ง 3 คน เพื่อให้แน่ชัดว่า ก. การรวมคะแนนเป็นไปอย่างถูกต้อง ข. ชื่อนักมวยเป็นไปอย่างถูกต้อง ค. ระบุผู้ชนะถูกต้อง ง. ได้ลงลายมือชื่อในบัตรให้คะแนนแล้ว และต้องตรวจสอบคำตัดสินจาก บัตรให้คะแนน จ. สั่งให้แจ้งผลคะแนนเพื่อให้ผู้ประกาศ ประกาศให้ผู้ชมทราบ 7. ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ จนผู้ซื้อขาดและผู้ตัดสินไม่อาจปฏิบัติหน้าที่อันเนื่องจากเหตุการณ์นั้นประธานผู้ตัดสินอาจปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนึ่งโดยฉับพลัน เพื่อให้การแข่งขันดำเนินต่อไปได้ 8. นักมวยที่มีเจตนากระทำความผิดอย่างร้ายแรง ขัดต่อความเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา ประธานผู้ตัดสิน มีอำนาจที่จะเสนอความผิด ครั้งนี้ต่อคณะกรราการสภามวยไทยโลกเพื่อพิจารณาโทษ กติกาข้อที่ 15 " ผู้รักษาเวลา และผู้ประกาศ "
ก. ที่นั่งของผู้รักษาเวลา และผู้ประกาศ ต้องนั่งอยู่ข้างสังเวียน ข. หน้าที่ผู้รักษาเวลา
1. หน้าที่สำคัญของผู้รักษาเวลาคือ รักษาจำนวนยก เวลาของแต่ละยก เวลาหยุดพักระหว่างยก และเวลานอก 2. เมื่อกรรมการผู้ชี้ขาดให้สัญญาณโดยมิให้ผิดพลาด ด้วยวิธีปฏิบัติดังนี้ อีกห้าวินาทีก่อนเริ่มการแข่งขันของแต่ละยก ต้องทำสังเวียนให้ว่างโดยให้สัญญาณ 4. ต้องให้สัญญาณเริ่มยกและหมดยกด้วยการตีระฆัง 5. ต้องหักเวลาออกสำหรับการหยุดชั่วคราว หรือเมื่อผู้ชี้ขาดสั่งให้หยุดเวลา 6. ต้องรักษาเวลาให้ถูกต้องทุกระยะ ด้วยนาฬิกาพกหรือนาฬิกาตั้งโต๊ะ 7. ตอนปลายยกซึ่งไม่ใช่ยกสุดท้าย ถ้ามีนักมวยล้ม และผู้ชี้ขาดกำลังนับเมื่อหมดเวลาแข่งขัน (เวลา 3 นาที) 8. ต้องยังไม่ตีระฆัง และให้ตีระฆังเมื่อผู้ชี้ขาดสั่ง ”ชก” 9. ตอนปลายยกสุดท้าย ถ้ามีนักมวยล้ม และผู้ชี้ขาดกำลังนับ เมื่อหมดเวลา 3 นาที ผู้รักษาเวลาต้องตีระฆังทันที ค. หน้าที่ผู้ประกาศ 1. ต้องประกาศชื่อ – มุม – น้ำหนัก ของนักมวยทั้งสองฝ่ายให้ผู้ชมทราบก่อนการแข่งขัน และประกาศอีกครั้งหนึ่งเมื่อนักมวยปรากฏตัวบนเวที 2. ต้องประกาศให้พี่เลี้ยงออกนอกสังเวียน เมื่อได้ยินสัญญาณเตือนจากผู้รักษาเวลา 3. ต้องประกาศว่าเริ่มยกที่เท่าใดโดยเร็วก่อนสัญญาณเริ่มยก และประกาศอีกครั้งหนึ่ง เมื่อสัญญาณหมดยกดังขึ้นว่าหมดยกที่เท่าใด 4. ต้องประกาศว่านักมวยฝ่ายใดเป็นผู้ชนะหลังจากผู้ชี้ขาดชูมือนักมวยแล้ว
1. ผู้ตัดสินแต่ละคนต้องตัดสินการชกของคู่แข่งขันโดยอิสระ และต้องตัดสินไปตามกติกา ว่าผู้ใดเป็นผู้ชนะ 2. ผู้ตัดสินแต่ละคนต้องอยู่คนละด้านของเวทีแลชะห่างจากผู้ชม 3. ในระหว่างที่การแข่งขันกำลังดำเนินอยู่ ผู้ตัดสินต้องไม่พูดกับผู้แข่งขัน กับผู้ตัดสินด้วยกัน กับบุคคลอื่น ยกเว้นผู้ชี้ขาด ถ้ามีความจำเป็นให้ใช้เวลาหยุดพักระหว่างยก แจ้งให้ผู้ชี้ขาดทราบว่ามีเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น พี่เลี้ยงปฏิบัติผิดมารยาท เชือกหย่อน ฯลฯ ซึ่งผู้ชี้ขาดอาจไม่สังเกตเห็นในขณะนั้น 4. ผู้ตัดสินต้องให้คะแนนแก่ผู้แข่งขันทั้งสองลงในบัตรบันทึกคะแนน ทันทีที่สิ้นสุดการแข่งขันแต่ละยก 5. ผู้ตัดสินต้องไม่ลุกจากที่นั่งให้คะแนน จนกว่าผู้ชี้ขาดจะชูมือตัดสินผลการแข่งขันแล้วข. การแต่งกาย ผู้ตัดสินต้องแต่งกายตามที่ สภามวยไทยโลก กำหนด กติกาข้อที่ 13 " การใช้อำนาจเหนือผู้ชี้ขาดและ/หรือผู้ตัดสิน " คำตัดสินของผู้ชี้ขาด และ/หรือผู้ตัดสิน อาจถูกประธานผู้ตัดสินแก้ไขในกรณีต่อไปนี้
1. เมื่อผู้ชี้ขาดปฏิบัติหน้าที่หรือให้คำตัดสินค้านกับบทบัญญัติและกติกาอย่างชัดแจ้ง 2. เมื่อเป็นที่แน่ชัดว่า ผู้ตัดสิน ผิดพลาดในบัตรให้คะแนน อันมีผลทำให้คำตัดสินผิดไป
กติกาข้อที่ 14 " ประธานผู้ตัดสิน " หน้าที่ของประธานผู้ตัดสิน
1. จัดกรรมการผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ให้ปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละรายการ 2. ปรับปรุงมาตรฐานของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน ให้เป็นไปตามบทบัญญัติและกติกา 3. พิจารณาเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสินที่ผ่านมา และหากมีผู้ชี้ขาดหรือผู้ตัดสินคนใดปฏิบัติหน้าที่ไม่ถูกต้องหรือไม่มีประสิทธิภาพ ต้องรายงานให้คณะกรรมการสภามวยไทยโลกทราบ 4. แก้ไขปัญหาเบื้องต้นอันเกิดจากการแข่งขัน และรายงานให้คณะกรรมการสภามวยไทยโลกทราบ 5. ประธานผู้ตัดสินจะต้องให้คำปรึกษาผู้ชี้ขาดและผู้ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ ก็ตามที่จำเป็นต้องตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งลงไป 6. ประธานผู้ตัดสินจะต้องตรวจสอบบัตรให้คะแนนของผู้ตัดสินทั้ง 3 คน เพื่อให้แน่ชัดว่า ก. การรวมคะแนนเป็นไปอย่างถูกต้อง ข. ชื่อนักมวยเป็นไปอย่างถูกต้อง ค. ระบุผู้ชนะถูกต้อง ง. ได้ลงลายมือชื่อในบัตรให้คะแนนแล้ว และต้องตรวจสอบคำตัดสินจาก บัตรให้คะแนน จ. สั่งให้แจ้งผลคะแนนเพื่อให้ผู้ประกาศ ประกาศให้ผู้ชมทราบ 7. ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ จนผู้ซื้อขาดและผู้ตัดสินไม่อาจปฏิบัติหน้าที่อันเนื่องจากเหตุการณ์นั้นประธานผู้ตัดสินอาจปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนึ่งโดยฉับพลัน เพื่อให้การแข่งขันดำเนินต่อไปได้ 8. นักมวยที่มีเจตนากระทำความผิดอย่างร้ายแรง ขัดต่อความเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา ประธานผู้ตัดสิน มีอำนาจที่จะเสนอความผิด ครั้งนี้ต่อคณะกรราการสภามวยไทยโลกเพื่อพิจารณาโทษ กติกาข้อที่ 15 " ผู้รักษาเวลา และผู้ประกาศ "
ก. ที่นั่งของผู้รักษาเวลา และผู้ประกาศ ต้องนั่งอยู่ข้างสังเวียน ข. หน้าที่ผู้รักษาเวลา
1. หน้าที่สำคัญของผู้รักษาเวลาคือ รักษาจำนวนยก เวลาของแต่ละยก เวลาหยุดพักระหว่างยก และเวลานอก 2. เมื่อกรรมการผู้ชี้ขาดให้สัญญาณโดยมิให้ผิดพลาด ด้วยวิธีปฏิบัติดังนี้ อีกห้าวินาทีก่อนเริ่มการแข่งขันของแต่ละยก ต้องทำสังเวียนให้ว่างโดยให้สัญญาณ 4. ต้องให้สัญญาณเริ่มยกและหมดยกด้วยการตีระฆัง 5. ต้องหักเวลาออกสำหรับการหยุดชั่วคราว หรือเมื่อผู้ชี้ขาดสั่งให้หยุดเวลา 6. ต้องรักษาเวลาให้ถูกต้องทุกระยะ ด้วยนาฬิกาพกหรือนาฬิกาตั้งโต๊ะ 7. ตอนปลายยกซึ่งไม่ใช่ยกสุดท้าย ถ้ามีนักมวยล้ม และผู้ชี้ขาดกำลังนับเมื่อหมดเวลาแข่งขัน (เวลา 3 นาที) 8. ต้องยังไม่ตีระฆัง และให้ตีระฆังเมื่อผู้ชี้ขาดสั่ง ”ชก” 9. ตอนปลายยกสุดท้าย ถ้ามีนักมวยล้ม และผู้ชี้ขาดกำลังนับ เมื่อหมดเวลา 3 นาที ผู้รักษาเวลาต้องตีระฆังทันที ค. หน้าที่ผู้ประกาศ 1. ต้องประกาศชื่อ – มุม – น้ำหนัก ของนักมวยทั้งสองฝ่ายให้ผู้ชมทราบก่อนการแข่งขัน และประกาศอีกครั้งหนึ่งเมื่อนักมวยปรากฏตัวบนเวที 2. ต้องประกาศให้พี่เลี้ยงออกนอกสังเวียน เมื่อได้ยินสัญญาณเตือนจากผู้รักษาเวลา 3. ต้องประกาศว่าเริ่มยกที่เท่าใดโดยเร็วก่อนสัญญาณเริ่มยก และประกาศอีกครั้งหนึ่ง เมื่อสัญญาณหมดยกดังขึ้นว่าหมดยกที่เท่าใด 4. ต้องประกาศว่านักมวยฝ่ายใดเป็นผู้ชนะหลังจากผู้ชี้ขาดชูมือนักมวยแล้ว
กติกาข้อที่ 16 "การตัดสิน " ให้ดำเนินการตัดสินตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้
1. การชนะน็อคเอ๊าท์ (KO) ถ้านักมวย ”ล้ม” และไม่สามารถชกต่อไปได้ภายใน 10 วินาที (ผู้ชี้ขาดนับ 1 – 10 แล้ว) ให้คู่แข่งขันเป็นผู้ชนะโดยน็อคเอ๊าท์ 2. ชนะโดยเทคนิเกิลน็อคเอ๊าท์ (TKO) คือกรณีต่อไปนี้ - เมื่อทำให้คู่ต่อสู้ตกเป็นผู้เสียเปรียบ และบอบช้ำมาก อาจจะเป็นอันตรายมากยิ่งขึ้น - นักมวยฝ่ายใดไม่สามารถที่จะชกต่อไปได้ทันที ภายหลังที่ได้หยุดพักระหว่างยก - บาดเจ็บ ถ้าผู้ชี้ขาดเห็นว่านักมวยคนหนึ่งบาดเจ็บ ไม่สามารถชกต่อไป หรือด้วยเหตุทางร่างกายอื่น ๆ ต้องยุติการแข่งขันและให้คู่แข่งขันเป็นผู้ชนะ การตัดสินดังกล่าวนี้ เป็นอำนาจของผู้ชี้ขาด อาจจะหารือแพทย์ก็ได้ เมื่อหารือแพทย์แล้ว ผู้ชี้ขาดต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ - ในกรณีที่นักมวยทั้งสองฝ่าย ได้รับบาดเจ็บ จนไม่สามารถที่จะทำการแข่งขันต่อไปได้ทั้งคู่ ถ้าแข่งขันไปแล้วยังไม่ครบ 3 ยก ให้ติดสินเสมอกัน แต่ถ้าแข่งขันครบ 3 ยก ให้ติดสินโดยคะแนน - ถูกนับ 2 ครั้งในยกเดียวกันผ่านไปแล้วและนักมวยผู้นั้นถูกกระทำจนไม่อยู่ในสภาพที่จะทำการแข่งขันต่อไปได้ 3. ชนะโดยถอนตัว ถ้านักมวยถอนตัวออกจากการแข่งขันด้วยความสมัครใจ อันเนื่องจากการบาดเจ็บหรือเหตุอื่น 4. ชนะโดยคะแนน เมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน นักมวยที่ได้รับการตัดสิน โดยเสียงข้างมากของผู้ตัดสินเป็นผู้ชนะ 5. ไม่มีการตัดสิน เมื่อนักมวยถูกตัดสินให้เสียสิทธิ ในการแข่งขันทั้งคู่ หรือเพียงฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ตาม การแข่งขัน จะต้องประกาศว่า ”ไม่มีการตัดสิน” เช่น นักมวยฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขึ้นมาแข่งโดยมีเจตนาที่จะแพ้หรือทั้งสองฝ่ายสมยอมกัน 6. ไม่มีการแข่งขัน ในกรณีที่เวทีเกิดความเสียหาย ผู้ชมไม่อยู่ในความสงบ จนไม่สามารถที่จะแข่งขันต่อไปได้ หรือเกิดเหตุการณ์ที่คัดไม่ถึงให้ยกเลิกการแข่งขันและให้ประกาศว่า ”ไม่มีการแข่งขัน” 7. การตัดสินเสมอ - เมื่อผลการให้คะแนนของผู้ตัดสินส่วนใหญ่เสมอกัน - เมื่อนักมวยถูกนับถึง 10 ทั้งคู่
กติกาข้อที่ 17 " การให้คะแนน "
การให้คะแนนต้องให้ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ก. การชก หมายถึง อวัยวะ (อาวุธ) ที่ใช้ในการต่อสู้ คือ หมัด เท้า เข่า ศอก
1. การชกที่ได้คะแนนมีดังนี้ - นักมวยฝ่ายใดใช้อาวุธมวยไทย (หมัด-เท้า-เข่า-ศอก) โดยถูกต้องตามกติกา กระทำถูกคู่แข่งขันได้มากกเป็นผู้ชนะ - นักมวยฝ่ายใดที่ใช้อาวุธมวยไทยตามลักษณะแบบแผนมวยไทย โดยถูกต้องตามกติกากระทำคู่ต่อสู้ได้หนักหน่วง ชัดแจ้ง รุนแรง และถูกเป้าหมายที่สำคัญได้มากกว่า เป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใดใช้อาวุธมวยไทย กระทำคู่ต่อสู้ให้เกิดบอบช้ำ บาดแผลที่เป็นอันตรายมากกว่า เป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใดเป็นผู้เดินเข้ากระทำ (ฝ่ายรุก) มากกว่าเป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใดเป็นผู้ รุก – รับ – หลบหลีก - ตอบโต้ ตามลักษณะและชั้นเชิงมวยไทยได้ดีกว่า เป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใด ที่มิได้กระทำฟาล์วหรือกระทำฟาล์วน้อยกว่า เป็นฝ่ายชนะ 2. การชกที่ไม่ได้คะแนนมีดังนี้ การชกที่ละเมิดกติกาข้อหนึ่งข้อใด - อาวุธที่กระทำไปถูก แขน, ขา ของคู่แข่งขัน อันเป็นลักษณะของการป้องกันของคู่แข่งขัน หรือ - อาวุธที่กระทำถูกคู่แข่งขัน แต่เบา คือไม่มีน้ำหนักส่งจากร่างกาย เช่น ตัว ลำตัว หรือไหล่
ข. การฟาล์ว 1. ระหว่างการชกแต่ละยก ผู้ตัดสินต้องคำนึงถึงความสำคัญของการฟาล์ว และตัดคะแนนตามที่ผู้ชี้ขาดสั่งให้ตัดคะแนน 2. ถ้าผู้ตัดสินเห็นการฟาล์วอย่างชัดเจน โดยผู้ชี้ขาดไม่ได้สังเกตและตัดคะแนนผู้แข่งขันที่กระทำฟาล์วนั้น ผู้ตัดสินจะต้องประเมินดูความรุนแรงของการฟาล์ว และตัดคะแนนไปตามความเหมาะสม พร้อมทั้งระบุไว้ด้วยว่า ทำฟาล์วด้วยเหตุใด
ค. เกี่ยวกับการให้คะแนน 1. ในยกหนึ่ง ๆ มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน และให้คู่แข่งขันลดลงไปตามส่วน คือ 9 – 8 – 7 คะแนน 2. ในยกที่เสมอกันจะได้ฝ่ายละ 10 คะแนน 3. ผู้ชนะในยกนั้น จะได้คะแนน 10 คะแนน ผู้แพ้ได้ 9 คะแนน (10:9) 4. ผู้ชนะในยกที่ชัดเจนมาก จะได้คะแนน 10 คะแนน ผู้แพ้ได้ 8 คะแนน (10:8) 5. ผู้ชนะในยกนั้น และได้นับ 1 ครั้ง จะได้คะแนน 10 ผู้แพ้ได้ 8 คะแนน (10:8) 6. ผู้ชนะชัดเจนมากในยกนั้น และได้นับ 1 ครั้ง จะได้คะแนน 10 ผู้แพ้ได้ 7 คะแนน (10:7) 7. ผู้ชนะในยกนั้น และได้นับสองครั้ง จะได้คะแนน 10 ผู้แพ้ได้ 7 คะแนน (10:7) 8. นักมวยที่กระทำฟาล์ว ต้องไม่ได้คะแนนเต็มในยกที่ถูกตัดคะแนน
1. การชนะน็อคเอ๊าท์ (KO) ถ้านักมวย ”ล้ม” และไม่สามารถชกต่อไปได้ภายใน 10 วินาที (ผู้ชี้ขาดนับ 1 – 10 แล้ว) ให้คู่แข่งขันเป็นผู้ชนะโดยน็อคเอ๊าท์ 2. ชนะโดยเทคนิเกิลน็อคเอ๊าท์ (TKO) คือกรณีต่อไปนี้ - เมื่อทำให้คู่ต่อสู้ตกเป็นผู้เสียเปรียบ และบอบช้ำมาก อาจจะเป็นอันตรายมากยิ่งขึ้น - นักมวยฝ่ายใดไม่สามารถที่จะชกต่อไปได้ทันที ภายหลังที่ได้หยุดพักระหว่างยก - บาดเจ็บ ถ้าผู้ชี้ขาดเห็นว่านักมวยคนหนึ่งบาดเจ็บ ไม่สามารถชกต่อไป หรือด้วยเหตุทางร่างกายอื่น ๆ ต้องยุติการแข่งขันและให้คู่แข่งขันเป็นผู้ชนะ การตัดสินดังกล่าวนี้ เป็นอำนาจของผู้ชี้ขาด อาจจะหารือแพทย์ก็ได้ เมื่อหารือแพทย์แล้ว ผู้ชี้ขาดต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ - ในกรณีที่นักมวยทั้งสองฝ่าย ได้รับบาดเจ็บ จนไม่สามารถที่จะทำการแข่งขันต่อไปได้ทั้งคู่ ถ้าแข่งขันไปแล้วยังไม่ครบ 3 ยก ให้ติดสินเสมอกัน แต่ถ้าแข่งขันครบ 3 ยก ให้ติดสินโดยคะแนน - ถูกนับ 2 ครั้งในยกเดียวกันผ่านไปแล้วและนักมวยผู้นั้นถูกกระทำจนไม่อยู่ในสภาพที่จะทำการแข่งขันต่อไปได้ 3. ชนะโดยถอนตัว ถ้านักมวยถอนตัวออกจากการแข่งขันด้วยความสมัครใจ อันเนื่องจากการบาดเจ็บหรือเหตุอื่น 4. ชนะโดยคะแนน เมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน นักมวยที่ได้รับการตัดสิน โดยเสียงข้างมากของผู้ตัดสินเป็นผู้ชนะ 5. ไม่มีการตัดสิน เมื่อนักมวยถูกตัดสินให้เสียสิทธิ ในการแข่งขันทั้งคู่ หรือเพียงฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ตาม การแข่งขัน จะต้องประกาศว่า ”ไม่มีการตัดสิน” เช่น นักมวยฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขึ้นมาแข่งโดยมีเจตนาที่จะแพ้หรือทั้งสองฝ่ายสมยอมกัน 6. ไม่มีการแข่งขัน ในกรณีที่เวทีเกิดความเสียหาย ผู้ชมไม่อยู่ในความสงบ จนไม่สามารถที่จะแข่งขันต่อไปได้ หรือเกิดเหตุการณ์ที่คัดไม่ถึงให้ยกเลิกการแข่งขันและให้ประกาศว่า ”ไม่มีการแข่งขัน” 7. การตัดสินเสมอ - เมื่อผลการให้คะแนนของผู้ตัดสินส่วนใหญ่เสมอกัน - เมื่อนักมวยถูกนับถึง 10 ทั้งคู่
กติกาข้อที่ 17 " การให้คะแนน "
การให้คะแนนต้องให้ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ก. การชก หมายถึง อวัยวะ (อาวุธ) ที่ใช้ในการต่อสู้ คือ หมัด เท้า เข่า ศอก
1. การชกที่ได้คะแนนมีดังนี้ - นักมวยฝ่ายใดใช้อาวุธมวยไทย (หมัด-เท้า-เข่า-ศอก) โดยถูกต้องตามกติกา กระทำถูกคู่แข่งขันได้มากกเป็นผู้ชนะ - นักมวยฝ่ายใดที่ใช้อาวุธมวยไทยตามลักษณะแบบแผนมวยไทย โดยถูกต้องตามกติกากระทำคู่ต่อสู้ได้หนักหน่วง ชัดแจ้ง รุนแรง และถูกเป้าหมายที่สำคัญได้มากกว่า เป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใดใช้อาวุธมวยไทย กระทำคู่ต่อสู้ให้เกิดบอบช้ำ บาดแผลที่เป็นอันตรายมากกว่า เป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใดเป็นผู้เดินเข้ากระทำ (ฝ่ายรุก) มากกว่าเป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใดเป็นผู้ รุก – รับ – หลบหลีก - ตอบโต้ ตามลักษณะและชั้นเชิงมวยไทยได้ดีกว่า เป็นฝ่ายชนะ - นักมวยฝ่ายใด ที่มิได้กระทำฟาล์วหรือกระทำฟาล์วน้อยกว่า เป็นฝ่ายชนะ 2. การชกที่ไม่ได้คะแนนมีดังนี้ การชกที่ละเมิดกติกาข้อหนึ่งข้อใด - อาวุธที่กระทำไปถูก แขน, ขา ของคู่แข่งขัน อันเป็นลักษณะของการป้องกันของคู่แข่งขัน หรือ - อาวุธที่กระทำถูกคู่แข่งขัน แต่เบา คือไม่มีน้ำหนักส่งจากร่างกาย เช่น ตัว ลำตัว หรือไหล่
ข. การฟาล์ว 1. ระหว่างการชกแต่ละยก ผู้ตัดสินต้องคำนึงถึงความสำคัญของการฟาล์ว และตัดคะแนนตามที่ผู้ชี้ขาดสั่งให้ตัดคะแนน 2. ถ้าผู้ตัดสินเห็นการฟาล์วอย่างชัดเจน โดยผู้ชี้ขาดไม่ได้สังเกตและตัดคะแนนผู้แข่งขันที่กระทำฟาล์วนั้น ผู้ตัดสินจะต้องประเมินดูความรุนแรงของการฟาล์ว และตัดคะแนนไปตามความเหมาะสม พร้อมทั้งระบุไว้ด้วยว่า ทำฟาล์วด้วยเหตุใด
ค. เกี่ยวกับการให้คะแนน 1. ในยกหนึ่ง ๆ มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน และให้คู่แข่งขันลดลงไปตามส่วน คือ 9 – 8 – 7 คะแนน 2. ในยกที่เสมอกันจะได้ฝ่ายละ 10 คะแนน 3. ผู้ชนะในยกนั้น จะได้คะแนน 10 คะแนน ผู้แพ้ได้ 9 คะแนน (10:9) 4. ผู้ชนะในยกที่ชัดเจนมาก จะได้คะแนน 10 คะแนน ผู้แพ้ได้ 8 คะแนน (10:8) 5. ผู้ชนะในยกนั้น และได้นับ 1 ครั้ง จะได้คะแนน 10 ผู้แพ้ได้ 8 คะแนน (10:8) 6. ผู้ชนะชัดเจนมากในยกนั้น และได้นับ 1 ครั้ง จะได้คะแนน 10 ผู้แพ้ได้ 7 คะแนน (10:7) 7. ผู้ชนะในยกนั้น และได้นับสองครั้ง จะได้คะแนน 10 ผู้แพ้ได้ 7 คะแนน (10:7) 8. นักมวยที่กระทำฟาล์ว ต้องไม่ได้คะแนนเต็มในยกที่ถูกตัดคะแนน
กติกาข้อที่ 18 " การชกที่ผิดกติกาและฟาล์ว "
กัด ทิ่มลูกนัยตา ถ่มน้ำลายรดคู่ต่อสู้ แลบลิ้นหลอก ใช้ศรีษะชนหรือโขก กอดปล้ำหรือทุ่มคู่ต่อสู้ หักหลังคู่ต่อสู้ จับล็อคแขนคู่ต่อสู้ ใช้ท่ายูโดและมวยปล้ำทุกท่า ล้มทับหรือซ้ำเติมคู่ต่อสู้ที่ล้มหรือกำลังลุกขึ้น จับเชือกหรือพยายามจับเชือกเพื่อชก ใช้กริยาวาจาไม่เหมาะสมสนการแข่งขัน ในกรณีที่มวยกำลังแข่งขัน มีการเกาะกอด เมื่อผู้ชี้ขาดสั่งหยุดแล้วนักมวยทั้งสอนหรือคนเดียวก็ตามไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ให้ผู้ชี้ขาดหยุดการแข่งขันแล้วเตือน หรือสั่งตัดคะแนนก็ได้ถ้าการกระทำครั้งนั้นเป็นผลทำให้คู่แข่งขันถึงน็อคเอ๊าท์หรือแตกเป็นแผลฉกรรณ์ ให้ติดสินนักมวยผู้นั้นแพ้ฟาล์ว หรือให้ออกจากการแข่งขัน การตีเข่ากระจับโดยเจตนา เช่น จับคอตีเข่ากระจับ แทงเข่ากระจับ หรือโยนเข่าถูกกระจับ (ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ชี้ขาดว่าเป็นการเจตนาหรือไม่) การตัดคะแนนนักมวยที่กระทำฟาล์ว ผู้ชี้ขาดจะสั่งตัดครั้งละ 1 คะแนน การปฏิบัติต่อนักมวยที่ถูกเข่าที่กระจับให้ผู้ชี้ขาดขอเวลานอก ให้นักมวยที่ถูกเข่าที่กระจับพักไม่เกินครั้งละ 5 นที จากนั้นจึงให้การแข่งขันดำเนินต่อไป
กติกาข้อที่ 19 " ล้ม "
ล้ม หมายถึง ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายถูกพื้นเวที นอกจากเท้า ยืนพับอยู่บนเชือกหมดสติ ถูกชกออกไปนอกสังเวียน ถูกชกอยู่ฝ่ายเดียวอย่างหนัก โดยไม่มีการตอบโต้และไม่ล้มหรือไม่ทับอยู่บนเชือก ในกรณีที่นักมวยคนหนึ่งคนใด ถูกกระทำล้มลง ให้ผู้ชี้ขาดเริ่มนับ พร้อมกับให้ผู้ชกรีบถอยห่างออกไปอยู่มุมกลาง ไกลทันที ถ้าไม่ยอมถอยออกไปตามคำสั่งของผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดต้องหยุดนับจนกว่าผู้ชกนั้นจะปฏิบัติตามคำสั่ง จึงให้ผู้ชี้ขาดนับต่อไปจากที่ได้นับแล้ว เมื่อผู้ล้มลุกขึ้นมาแล้ว และได้รับคำสั่งจากผู้ชี้ขาดให้ชก จึงจะชกต่อไปได้ เมื่อนักมวยคนหนึ่งคนใดล้มลง ให้ผู้ชี้ขาดนับดัง ๆ จาก 1 – 10 โดยทอดระยะห่างกัน 1 วินาที และทุก ๆ วินาทีที่นับ ผู้ชี้ขาดต้องให้สัญญาณมือด้วย เพื่อนักมวยผู้ล้มจะได้รู้ว่าตนถูกนับ ถ้านักมวยผู้ล้มลุกขึ้นได้ก่อนผู้ชี้ขาดนับ ”สิบ” และพร้อมที่จะชกต่อไปได้ แต่ถ้ายังนับไม่ถึง 8 ผู้ชี้ขาดจะต้องนับต่อไปจนถึง 8 เสียก่อนจึงให้ชกกันต่อไป แต่ถ้าผู้ชี้ขาดได้นับ ”สิบ” แล้ว ให้ถือว่าการต่อสู้ได้สิ้นสุดลง และต้องตัดสินให้ผู้ที่ล้มนั้นแพ้โดย ”น็อคเอ๊าท์” ถ้านักมวยล้มลงพร้อมกันทั้งสองคน ให้ผู้ชี้ขาดนับต่อไปตลอดเวลาที่คนใดคนหนึ่งล้มอยู่ ถ้านักมวยทั้งสองคนยังล้มอยู่จนกระทั่งนับสิบ ให้ติดสินเสมอกัน ในกรณีที่นักมวยล้มลงทั้งคู่และบังเอิญแขนขาทั้งสองฝ่ายเกี่ยวกัน หรือทับกัน โดยที่นักมวยทั้งคู่กำลังลุกขึ้น ผู้ชี้ขาดต้องแยกออกจากกันและควรหยุดนับในช่วงนั้น ถ้านักมวยผู้ล้มลงขึ้นมาได้ก่อนนับสิบ แต่กลับล้มลงไปโดยมิได้ถูกชกอีก ให้ ผู้ชี้ขาดนับต่อไปจากที่นับมาแล้ว นักมวยผู้ใดไม่พร้อมที่จะชกต่อไปได้ทันที ภายหลังที่เวลาหยุดพักระหว่างยกหมดไปแล้ว ผู้ชี้ขาดจะต้องนับ ยกเว้นเครื่องแต่งกายไปไม่เรียบร้อย
กติกาข้อที่ 20 " คุณสมบัติของแพทย์สนาม " จะต้องแต่งตั้งกรรมการแพทย์ที่มีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติหน้าที่ โดยการรับรองจากสภามวยไทยโลก
กติกาข้อที่ 21 " การปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์ "
ตรวจร่างกายผู้เข้าแข่งยันก่อนการชั่งน้ำหนักตัว อยู่ประจำตลอดการแข่งขัน และไม่ควรลุกไปจากที่ที่จัดไว้ก่อนการแข่งขันคู่สุดท้ายสิ้นสุดลง และจนกว่าจะได้ดูแลนักมวยที่แข่งขันคู่สุดท้ายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตรวจร่างกายนักมวยหักการแข่งขัน และแจ้งระยะพักฟื้น
กติกาข้อที่ 22 " การตรวจทางการแพทย์ "
นักมวยผู้เข้าทำการแข่งขัน ต้องได้รับการตรวจร่างกายโดยกรรมการฝ่ายแพทย์ และต้องมีความสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีโรค หรือการป่วยเจ็บ ที่เป็นข้อห้ามเข้าทำการแข่งขัน ตามที่ระบุในคู่มือแพทย์ของสภามวยไทยโลก นักมวยที่จะไปทำการแข่งขันต่างประเทศ ต้องได้รับการตรวจร่างกายและที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหาร ฯ อนุญาตให้ทำการแข่งขันได้ โดยไม่ขัดกับบัญชีโรคหรือการเจ็บป่วย ที่ห้ามทำการแข่งขัน และไม่ขัดกับกฏระเบีบบทางการแพทย์ของประเทศที่นักมายจะไปทำการแข่งขันด้วย
กัด ทิ่มลูกนัยตา ถ่มน้ำลายรดคู่ต่อสู้ แลบลิ้นหลอก ใช้ศรีษะชนหรือโขก กอดปล้ำหรือทุ่มคู่ต่อสู้ หักหลังคู่ต่อสู้ จับล็อคแขนคู่ต่อสู้ ใช้ท่ายูโดและมวยปล้ำทุกท่า ล้มทับหรือซ้ำเติมคู่ต่อสู้ที่ล้มหรือกำลังลุกขึ้น จับเชือกหรือพยายามจับเชือกเพื่อชก ใช้กริยาวาจาไม่เหมาะสมสนการแข่งขัน ในกรณีที่มวยกำลังแข่งขัน มีการเกาะกอด เมื่อผู้ชี้ขาดสั่งหยุดแล้วนักมวยทั้งสอนหรือคนเดียวก็ตามไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ให้ผู้ชี้ขาดหยุดการแข่งขันแล้วเตือน หรือสั่งตัดคะแนนก็ได้ถ้าการกระทำครั้งนั้นเป็นผลทำให้คู่แข่งขันถึงน็อคเอ๊าท์หรือแตกเป็นแผลฉกรรณ์ ให้ติดสินนักมวยผู้นั้นแพ้ฟาล์ว หรือให้ออกจากการแข่งขัน การตีเข่ากระจับโดยเจตนา เช่น จับคอตีเข่ากระจับ แทงเข่ากระจับ หรือโยนเข่าถูกกระจับ (ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ชี้ขาดว่าเป็นการเจตนาหรือไม่) การตัดคะแนนนักมวยที่กระทำฟาล์ว ผู้ชี้ขาดจะสั่งตัดครั้งละ 1 คะแนน การปฏิบัติต่อนักมวยที่ถูกเข่าที่กระจับให้ผู้ชี้ขาดขอเวลานอก ให้นักมวยที่ถูกเข่าที่กระจับพักไม่เกินครั้งละ 5 นที จากนั้นจึงให้การแข่งขันดำเนินต่อไป
กติกาข้อที่ 19 " ล้ม "
ล้ม หมายถึง ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายถูกพื้นเวที นอกจากเท้า ยืนพับอยู่บนเชือกหมดสติ ถูกชกออกไปนอกสังเวียน ถูกชกอยู่ฝ่ายเดียวอย่างหนัก โดยไม่มีการตอบโต้และไม่ล้มหรือไม่ทับอยู่บนเชือก ในกรณีที่นักมวยคนหนึ่งคนใด ถูกกระทำล้มลง ให้ผู้ชี้ขาดเริ่มนับ พร้อมกับให้ผู้ชกรีบถอยห่างออกไปอยู่มุมกลาง ไกลทันที ถ้าไม่ยอมถอยออกไปตามคำสั่งของผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดต้องหยุดนับจนกว่าผู้ชกนั้นจะปฏิบัติตามคำสั่ง จึงให้ผู้ชี้ขาดนับต่อไปจากที่ได้นับแล้ว เมื่อผู้ล้มลุกขึ้นมาแล้ว และได้รับคำสั่งจากผู้ชี้ขาดให้ชก จึงจะชกต่อไปได้ เมื่อนักมวยคนหนึ่งคนใดล้มลง ให้ผู้ชี้ขาดนับดัง ๆ จาก 1 – 10 โดยทอดระยะห่างกัน 1 วินาที และทุก ๆ วินาทีที่นับ ผู้ชี้ขาดต้องให้สัญญาณมือด้วย เพื่อนักมวยผู้ล้มจะได้รู้ว่าตนถูกนับ ถ้านักมวยผู้ล้มลุกขึ้นได้ก่อนผู้ชี้ขาดนับ ”สิบ” และพร้อมที่จะชกต่อไปได้ แต่ถ้ายังนับไม่ถึง 8 ผู้ชี้ขาดจะต้องนับต่อไปจนถึง 8 เสียก่อนจึงให้ชกกันต่อไป แต่ถ้าผู้ชี้ขาดได้นับ ”สิบ” แล้ว ให้ถือว่าการต่อสู้ได้สิ้นสุดลง และต้องตัดสินให้ผู้ที่ล้มนั้นแพ้โดย ”น็อคเอ๊าท์” ถ้านักมวยล้มลงพร้อมกันทั้งสองคน ให้ผู้ชี้ขาดนับต่อไปตลอดเวลาที่คนใดคนหนึ่งล้มอยู่ ถ้านักมวยทั้งสองคนยังล้มอยู่จนกระทั่งนับสิบ ให้ติดสินเสมอกัน ในกรณีที่นักมวยล้มลงทั้งคู่และบังเอิญแขนขาทั้งสองฝ่ายเกี่ยวกัน หรือทับกัน โดยที่นักมวยทั้งคู่กำลังลุกขึ้น ผู้ชี้ขาดต้องแยกออกจากกันและควรหยุดนับในช่วงนั้น ถ้านักมวยผู้ล้มลงขึ้นมาได้ก่อนนับสิบ แต่กลับล้มลงไปโดยมิได้ถูกชกอีก ให้ ผู้ชี้ขาดนับต่อไปจากที่นับมาแล้ว นักมวยผู้ใดไม่พร้อมที่จะชกต่อไปได้ทันที ภายหลังที่เวลาหยุดพักระหว่างยกหมดไปแล้ว ผู้ชี้ขาดจะต้องนับ ยกเว้นเครื่องแต่งกายไปไม่เรียบร้อย
กติกาข้อที่ 20 " คุณสมบัติของแพทย์สนาม " จะต้องแต่งตั้งกรรมการแพทย์ที่มีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติหน้าที่ โดยการรับรองจากสภามวยไทยโลก
กติกาข้อที่ 21 " การปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์ "
ตรวจร่างกายผู้เข้าแข่งยันก่อนการชั่งน้ำหนักตัว อยู่ประจำตลอดการแข่งขัน และไม่ควรลุกไปจากที่ที่จัดไว้ก่อนการแข่งขันคู่สุดท้ายสิ้นสุดลง และจนกว่าจะได้ดูแลนักมวยที่แข่งขันคู่สุดท้ายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตรวจร่างกายนักมวยหักการแข่งขัน และแจ้งระยะพักฟื้น
กติกาข้อที่ 22 " การตรวจทางการแพทย์ "
นักมวยผู้เข้าทำการแข่งขัน ต้องได้รับการตรวจร่างกายโดยกรรมการฝ่ายแพทย์ และต้องมีความสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีโรค หรือการป่วยเจ็บ ที่เป็นข้อห้ามเข้าทำการแข่งขัน ตามที่ระบุในคู่มือแพทย์ของสภามวยไทยโลก นักมวยที่จะไปทำการแข่งขันต่างประเทศ ต้องได้รับการตรวจร่างกายและที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหาร ฯ อนุญาตให้ทำการแข่งขันได้ โดยไม่ขัดกับบัญชีโรคหรือการเจ็บป่วย ที่ห้ามทำการแข่งขัน และไม่ขัดกับกฏระเบีบบทางการแพทย์ของประเทศที่นักมายจะไปทำการแข่งขันด้วย
กติกาข้อที่ 23 "กรรมวิธีภายหลังการน็อคเอ๊าท์ และเทคนิเกิลน็อคเอ๊าท์"
นักมวยหมดสติ ถ้านักมวยหมดสติ อนุญาตให้เฉพาะผู้ชี้ขาด และแพทย์เท่านั้น เข้าไปในสังเวียน ผู้อื่นอาจเข้าไปในสังเวียนได้ ถ้าแพทย์ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ การช่วยเหลือทางการแพทย์ นักมวยที่ถูกน็อคเอ๊าท์หรือเทคนิเกิลน็อคเอ๊าท์จะต้องได้รับการตรวจร่างกายโดยละเอียด และให้การรักษาพยาบาลทันที ระยะพักฟื้น นักมวยภายหลังการแข่งขัน ต้องหยุดพักร่างกาย ก่อนทำการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 21 วัน ยกเว้น นักมวยผู้แข่งขันเป็นผู้ชนะภายใน 1 ยก ต้องหยุดพักร่างกายก่อนทำการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 7 วัน นักมวยผู้แข่งขัน เป็นผู้ชนะ ภายใน 3 ยก ต้องหยุดพักร่างกายก่อนทำการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 14 วัน นักมวยผู้แข่งขัน แพ้น็อคเอ๊าท์หรือแพ้เทอนิเกิลน็อคเอ๊าท์ ต้องหยุดพักร่างกายก่อนทำการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 30 วัน นักมวยใน 3.1, 3.2, 3.3 จะได้รับการตรวจวินิจฉัย จากกรรมการฝ่ายแพทย์หลังแข่งขันทันที เพื่อแจ้งระยะพักฟื้นก่อนทำการแข่งขันในครั้งต่อไป ภายหลังการแข่งขันสิ้นสุดลง โดยมีใบรับรองจากแพทย์ ทุกครั้ง
กติกาข้อที่ 24 " การใช้ยา "
ห้ามใช้ยาหรือสารกระตุ้นแก่นักมวย ไม่ว่าจะเป็นก่อนหรือระหว่างการแข่งขันผู้ฝ่าฝืนจะถูกปรับแพ้ การใช้ยาเฉพาะที่เพื่อห้ามเลือด อนุญาตให้ใช้ Adrenalin 1:1000 และ ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการฝ่ายแพทย์เท่านั้น
กติกาข้อที่ 25 " การตีความ "
การตีความหมายใด ๆ ตามกติกานี้ หรือมีปัญหาใด ๆ เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากผู้แข่งขันแม้มิได้กล่าวไว้ในกติกานี้ก็ดี ให้ประธานผู้ตัดสิน และ/หรือ ผู้ชี้ขาด เป็นผู้พิจารณา สิ่งที่ต้องปฏิบัติเหมือนกันบนเวที คือ ตรวจความเรียบร้อย เช่น เครื่องแต่งกาย ต้องไหว้ครู ถ้าไม่ไหว้ครูจะไม่มีการแข่งขัน ชี้แจงกติกาต้องพูดว่า ”ชกให้เต็มที่ มีน้ำใจ เป็นนักกีฬา ห้ามทำฟาล์วใด ๆ ทั้งสิ้น และต้องฟังคำสั่งอย่างเคร่งครัด ขอให้โชคดี” ชี้ให้นักมวยเข้ามุมเพื่อถอดมงคล ใส่ฟันยาง ให้สัญญาณแก่ผู้รักษาเวลา ให้ตีระฆังยกแรก ในยกต่อ ๆ ไปไม่ต้องให้สัญญาณ ให้สัญญาณการชก ต้องแน่ใจว่านักมวยหยุดและแยกเข้ามุมแล้วจึงเดินเข้ามุมกลาง เมื่อหมดยกสุดท้าย ก่อนรวบรวมใบคะแนนต้องให้นักมวยอยู่ในมุมของตนก่อน รวบรวมใบคะแนนจากผู้ตัดสินตามลำดับ10. ชูมือผู้ชนะ โดยหันหน้าไปในทิศทางเดียวกันกับนักมวย การยืนมุมของผู้ชี้ขาด ต้องยืนอย่างสง่าผ่าเผย ให้ยืนได้ 2 แบบ คือ เอามือไขว้หลัง กางแขนทาบไปตามเชือกเส้นบน ต้องยืนตรง ห้ามผลักนักมวย ถ้าไม่จำเป็นไม่ควรใช้เท้ากันหรือแยกมวย และไม่ควรยกเท้าสูง การรับศีรษะนักมวยถือเป็นศิลปการห้ามมวยควรทำ กรรมการต้องมีบุคลิกดี เครื่องแต่งกายดี ร่างกายดี ไม่ลงจากเวทีก่อนนักมวย จรรยาบรรณของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน
ต้องไม่มีพฤติการที่ส่อไปในทางทุจริต ต้องไม่ให้ข่าวหรือให้สัมภาษณ์ที่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียในการตัดสิน ต้องไม่ประพฤติผิดศีลธรรมอย่างร้ายแรง ต้องไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ก่อนการแข่งขัน 24 ชั่วโมง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น